สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน2023
“พรมแดนที่เลือนหาย:
บนความเคลื่อนไหวเพื่อปกป้องสิทธิ์”
กันยายน2566
กรุงเทพฯ อุบลราชธานีและออนไลน์
กำหนดการงานสัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียนและลิงค์ลงทะเบียน
นิทรรศการ “พรมแดนที่เลือนหาย: บนความเคลื่อนไหวเพื่อปกป้องสิทธิ์”
- ภาพจากภาพเขียนสีน้ำ “คนฟิลิปปินส์สู้กับเขื่อนกาลิวา” (The Filipinos fighting the monsters of Kaliwa Dam”) โดย Aldy และทีมงานชาวบ้านฟิลิปปินส์ (ชั้นคาเฟ่)
- งานแสดงนิทรรศการผลงานอาสาสมัครนักสิทธิมนุษยชนรุ่น 17 ของมูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม (ชั้น 3 และชั้น 5) - ชุดภาพถ่ายแม่น้ำโขง โดยนักกิจกรรมลุ่มน้ำโขง (ชั้น 4)
- ชุดภาพถ่าย “การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศกับอธิปไตยทางอาหาร” (ออนไลน์) โดย กลุ่มเสรีภาพแม่น้ำโขง (The Mekong Butterfly)/มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม/Innovation for Change (IfC)/International Rivers (IR)/โฮงเฮียนฮักแม่น้ำของตามุย และ Focus on the Global South
รายการในสถานที่
10.00-12.00 “ภาพยนตร์-สนทนา” รวมสารคดีสั้นที่คนทำอยากให้ฉายในงาน MAEW2023
-“เมื่อแม่เป็นแรงงาน” โดย “เมื่อแม่เป็นแรงงาน” โดย สำนักข่าวประชาไท เครือข่ายแรงงานภาคเหนือและมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (HRDF)
-“โครงการกสิกรรมฉลาด” โดยพูวง เพ็ดไพวัน โครงการซาวนาฉลาด สปป.ลาว
- Murdering the Mekong 2023 โดย Eureka Films
14.00 ดนตรีโดย Reverberation Area
15.00 การสนทนาระหว่างเจ้าของผลงานแสดง -ชนาง อำภารักษ์ กลุ่มเสรีภาพแม่น้ำโขง
- วง Reverberation Area
- กัมพล ยาลัย ตัวแทนอาสาสมัครนักสิทธิมนุษยชน มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคมรุ่น 17
รับชมย้อนหลังได้ทาง YouTube:สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2023
เสวนา/ประชุมเชิงปฏิบัติการ “ปฏิรูประบบผูกขาดไฟฟ้าสู่มือประชาชน เพื่ออนาคตที่สะอาดและยั่งยืน”
วิทยากร
- วิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ เครือข่ายพลังงานและนิเวศน์วิทยาแม่น้ำโขง (MEENet)
- ชื่นชม สง่าราศรี กรีเซน นักวิชาการอิสระด้านพลังงาน
- ดร.โสภิตสุดา ทองโสภิต ผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงานแสงอาทิตย์และระบบการจัดเก็บพลังงาน รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา (ออนไลน์)
- ภาษพงศ์ กมลเวชช์ รองหัวหน้ากองซื้อและบริหารต้นทุนไฟฟ้า ฝ่ายนโยบายเศรษฐกิจพลังงาน
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
ดำเนินรายการ โดย วิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ เครือข่ายพลังงานและนิเวศวิทยาแม่น้ำโขง (MEENet)
รับชมย้อนหลังได้ทาง YouTube:สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2023
วงสนทนา“อนาคตอุษาคเนย์ : ในหลากหลายมุมมอง”
เปิดประเด็นการสนทนา โดย;
- ผศ. ดร.ลลิตา หาญวงษ์ จากภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย บรรณาธิการเว็บไซต์ The101.world
- Toshi Doi, Mekong Watch
ดำเนินการสนทนา โดยรศ.ดร.นฤมล ทับจุมพล ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยการย้ายถิ่นแห่งเอเชีย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รับชมย้อนหลังได้ทาง YouTube:สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2023
บทเพลงโดยวง The Messenger วงผู้หญิงแรงงานจากกัมพูชา (15 นาที)
เสวนา “พรมแดนที่เลือนหาย: ทุนบวกรัฐ กับ คนและสิ่งแวดล้อม”
ผู้พูดในสถานที่
- “สถานการณ์แรงงานข้ามชาติ” โดยสมชาย หอมลออ มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (HRDF)
- “ชีวิตแรงงานข้ามชาติ” โดย Chai Jarm แรงงานข้ามชาติภาคเกษตรชาวไทใหญ่
- “สิทธิสตรีพื้นเมืองและการต่อสู้” โดย แอ้บบี้ ดูเพล (Abby Dupale จากองค์กร LILAK (Purple Action for Indigenous Women’s Rights
ผู้พูดออนไลน์
- “รัฐ ทุนใหญ่ กับการลงทุนข้ามพรมแดน” โดย ชาลมาลี กุตตัล (Shalmali Guttal) โครงการโฟกัส (Focus on the Global South)
- “การเมืองกับคนรุ่นใหม่: มองภูมิภาคผ่านสถานการณ์ประเทศไทย” โดย รังสิมันต์ โรม สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคก้าวไกล
- “แม่น้ำ ประมง และชีวิตของเรา” Aut Long ตัวแทนชาวประมงและนักวิจัยชาวบ้านจาก Coalition of Cambodia Fishers (CFF) และ Action Research Team (ART) กัมพูชา
- “พม่าวันนี้” โดยขิ่น โอมาร์ Progressive Voice
ดำเนินรายการโดย เปรมฤดี ดาวเรือง โปรเจกต์เสวนา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Project SEVANA South-East Asia)
รับชมย้อนหลังได้ทาง YouTube:สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2023
สนทนาหลังการฉาย ภาพยนตร์สารคดี "REFLECTION: A WALK WITH WATER"
โดย
- จุฑามาส ศรีหัตถผดุงกิจ โครงการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านทรัพยากรแร่
- วลัยลักษณ์ ชมโนนสูง ฝ่ายพัฒนานักสื่อสารพลเมือง สำนักเครือข่ายและการมีส่วนร่วมสาธารณะไทยพีบีเอส (บก.เพจอยู่ดีมีแฮง)
- ดร.เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง. อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ดำเนินการสนทนาโดย อรสา ศรีดาวเรือง ผู้สื่อข่าว Voice online
รับชมย้อนหลังได้ทาง YouTube:สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2023
ศิลปะแสดงสด (Performance Art) โดย- Ko Aung Khant Thu ศิลปินและนักกิจกรรมเพื่อประชาธิปไตยจากเมียนมาร์
วงสนทนา “ข้ามประเด็น ข้ามพรมแดน: คนรุ่นใหม่กับงานรณรงค์ในภูมิภาค” โดย
- จีวอง แคปปาทอย (Jerwin “Jhewoung” Capatoy องค์กร STEP Sierra Madre
- Ko Aung Khant Thu ศิลปินและนักกิจกรรมเพื่อประชาธิปไตยจากเมียนมาร์
- Sokunmolika Sethy จากองค์กร Social Action for Community Development (SACD) กัมพูชา
ดำเนินการอภิปราย โดย แกรี่ ลี (Gary Lee), องค์การแม่น้ำนานาชาติ (International Rivers)
รับชมย้อนหลังได้ทาง YouTube:สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2023
นักสิทธิมนุษยชนรุ่นใหม่ “สิทธิ สิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงในมือของเรา”
โดย
- ธีรภัทร เจริญฤทธิ์ : เพราะผืนดินคือบ้าน
- ธัญญรัตน์ ลือรัตนนิติกุล : ภาษาชาติพันธุ์กับคนชายขอบ
- สุภิมล พันธุ์มณี : ความอยุติธรรมบีบคั้นให้ทิ้งถิ่น
- กัญญ์วรา หมื่นแก้ว : เสียงจากคนที่ท่านทั้งหลายบอกว่าเป็นต้นตอปัญหาป่าไม้ที่ดิน
- ลาหมึทอ ดั่งแดนวิมาน: เสียงของนักต่อสู้รุ่นใหม่
ดำเนินรายการโดย สมฤดี พิมลนาถเกษรา โปรเจกต์เสวนา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
รับชมย้อนหลังได้ทาง YouTube:สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2023
เสวนา “สดจากภาคสนาม : ความเปลี่ยนแปลง ความเดือดร้อน และอนาคตในสายตาประชาชนลุ่มแม่น้ำโขง”
- “วิถีชาวนา” โดย รศ.ดร.ประภาส ปิ่นตบแต่ง อดีตผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม จุฬาฯ
- “ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกสะท้อนให้เห็นอะไรในภูมิภาค” โดย รศ.ดร. ชัยยนต์ ประดิษฐศิลป์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสหวิทยาการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จันทบุรี-
- “บ้านห้วยหมากใต้: จากเขื่อนปากมูลถึงเขื่อนพูงอย. โดย เปรมฤดี ดาวเรือง เครือข่ายประชาชนจับตาการลงทุนในเขื่อนลาว (LDIM)
อภิปรายหลังการนำเสนอ โดย รศ. ดร. ฉันทนา บรรพศิริโชติ หวันแก้ว
ดำเนินการอภิปราย โดย คีตนาฏ วรรณบวร โครงการโฟกัส (Focus on the Global South)
รับชมย้อนหลังได้ทาง YouTube:สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2023
เสวนาและแนะนำหนังสือ “การลงทุนโดยตรงของไทยในต่างประเทศ:ผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม และการละเมิดสิทธิมนุษยชน”
- แนะนำหนังสือเล่มที่ 1 และ 2 โดย ชนาง อำภารักษ์ กลุ่มเสรีภาพแม่น้ำโขง
- โครงการท่อก๊าซในพม่า โดย ธีระชัย ศาลเจริญกิจถาวร กลุ่มเสรีภาพแม่น้ำโขง
- เขื่อนในสปป.ลาว โดย ไพริน เสาะสาย องค์กรแม่น้ำนานาชาติ (International Rivers)
- ความคืบหน้าคดีน้ำตาลในกัมพูชา โดย ส. รัตนมณี พลกล้า มูลนิธิศูนย์ข้อมูลชุมชน
- ประมวลภาพรวม การเคลื่อนไหวของ 11 กรณีและข้อมูลในหนังสือเล่มที่ 2 โดย วรวรรณ ศุกระฤกษ์ เอิร์ทไรท์อินเตอร์เนชั่นแนล (EarthRights International)
ดำเนินการอภิปรายโดย ชนาง อำภารักษ์ กลุ่มเสรีภาพแม่น้ำโขง
รับชมย้อนหลังได้ทาง YouTube:สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2023
เสวนา “ปรับตัวสู่การเป็นสังคมที่มั่นคงและทนทานต่อความเสี่ยงจากภูมิอากาศ: ประชาชนทำอะไร”
โดยตัวแทนชุมชนจากประเทศอินโดนีเซีย ประเทศไทย
และกัมพูชา
รับชมย้อนหลังได้ทาง YouTube:สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2023
เสวนา “คุณค่าและทรัพยากรเมืองอุบล เมืองริมฝั่งน้ำมูลและแม่น้ำโขง”
โดย
- คุณนิกร วีสเพ็ญ ทนายความสิทธิมนุษยชนและนักกิจกรรมอาวุโสชาวอุบลราชธานี
- แม่สมปอง เวียงจันทน์ ชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบจากเขื่อนปากมูล
- คุณมงคล จุลทัศน์ ประธานกรรมการหอการค้าจังหวัดอุบลราชธานี
- รองศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (MSSRC) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ดำเนินรายการโดย คุณกมล หอมกลิ่น กองบรรณาธิการไทยอีสานพีบีเอส, มูลนิธิสื่อสร้างสุข
รับชมย้อนหลังได้ทาง YouTube:สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2023
“เขื่อนแม่น้ำโขง ผลกระทบต่ออุบลราชธานีและคนอุบล”
- แม่สอน จำปาดอก ชาวบ้านผู้ได้รับผลกระทบจากเขื่อนแม่น้ำโขงจากอำเภอโพธิ์ไทร อุบลราชธานี
- วิทยากร โสวัตร นักเขียน
- สุจินันท์ ใจแก้ว นักกิจกรรมและเจ้าของกิจการคนรุ่นใหม่จากอำเภอเขมราฐ
- ตัวแทนผู้ส่งภาพประกวด “เขื่อนแม่น้ำโขง ผลกระทบต่ออุบลราชธานีและคนอุบล”
นำเสนอภาพรวมและดำเนินการเสวนาโดย เปรมฤดี ดาวเรือง โปรเจกต์เสวนา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
รับชมย้อนหลังได้ทาง YouTube:สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2023
“ผลกระทบปลายน้ำของเขื่อนต่อป่าแม่น้ำโขงที่ถูกน้ำท่วมตามฤดูกาลของแม่น้ำโขงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของกัมพูชา”
โดย
ดร. เอียน บาร์ด (Ian Baird) ศาสตราจารย์ภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน-แมดิสัน (บรรยายเป็นภาษาลาว-อีสาน)
รับชมย้อนหลังได้ทาง YouTube:สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2023
“ข้ามพรมแดนความหวาดกลัว: มุมมองจากนักกิจกรรมสิ่งแวดล้อมภูมิภาค"
ผู้อภิปราย;
-Mr. Jerwin "Jhewoung" Capatoy จากองค์กร STEP Sierra Madre ฟิลิปปินส์ ตัวแทนคนรุ่นใหม่สู้เขื่อนกาลิวาในประเทศฟิลิปปินส์
- LOEM Sreymom จากศูนย์ข้อมูลแรงงาน (Workers' Information Center) กัมพูชา
- Phay Phanya องค์กร Mother Nature กัมพูชา
ดำเนินการพูดคุย โดย รองศาสตราจารย์ ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์ ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (MSSRC) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
รับชมย้อนหลังได้ทาง YouTube:สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2023
“การเมืองเรื่องอีสาน กับการเข้าถึงทรัพยากร”
โดย
- วิทยากร โสวัตร นักเขียนและเจ้าของร้านหนังสือฟิลาเดลเฟีย
- กชกร บัวล้ำล้ำ นักเขียน อีสานเรคคอร์ด
- ดร. เอียน บาร์ด (Ian Baird) ศาสตราจารย์ภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน-แมดิสัน (สนทนาเป็นภาษาลาว-อีสาน)
ดำเนินการสนทนาโดย สดใส สร่างโศก นักวิจัยอิสระ
รับชมย้อนหลังได้ทาง YouTube:สัปดาห์สิ่งแวดล้อมแม่โขง-อาเซียน 2023